บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2018
INCOTERM 2010 (International Commercial Terms) EXW (Ex Works) ผู้ขายส่งมอบของให้แก่ผู้ซื้อ ณ ที่ทำการของผู้ขาย เช่น โรงงาน หรือโรงพักสินค้า ฯลฯ โดย ผู้ซื้อรับภาระในการดำเนินการและค่าใช้จ่ายรวมทั้งความเสี่ยงหลังจากการส่งมอบของแล้ว เช่น การขนของขึ้นยานพาหนะ การปฏิบัติพิธีการขาออก เป็นต้น FCA (Free Carrier) ผู้ขายต้องดำเนินการพิธีการขาออกจนเสร็จสิ้น แล้วส่งมอบของให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ส่งมอบซึ่งผู้ซื้อเป็นผู้กำหนดไว้ FAS (Free Alongside Ship) ผู้ขายมีภาระรับผิดชอบต้องขนส่งของมาวางไว้ข้างเรือ เช่น บนหน้าท่า หรือในเรือลำเลียงหรือลงเรือลำเลียงเทียบข้างเรือ ณ ท่าที่ส่งออกที่ระบุไว้ โดยผู้ซื้อเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดรวมทั้งความเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือสูญหายที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น ข้อตกลงนี้ใช้กับการขนส่งทางทะเลหรือทางน้ำในแผ่นดินเท่านั้น FOB (Free on Board) ผู้ขายมีภาระรับผิดชอบต้องส่งมอบของลงเรือ ณ ท่าส่งออกที่ได้ระบุไว้ ส่วนผู้ซื้อจะต้องรับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดรวมทั้งความเสี่ยงต่อความเสียห
รูปภาพ
กระบวนการนำเข้าและส่งออกและเงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศ             กระบวนการนำเข้าและส่งออกจะเกี่ยวข้องกับผู้ซื้อในฐานะผู้นำเข้า และผู้ขายหรือผู้ส่งออกโดยการจัดส่งขาเข้าสามารถดำเนินการได้ผ่านผู้รับขนส่งทางบก ทางเรือ ทางอากาศ และการขนส่งหลายรูปแบบ โดยจะเกี่ยวข้องกับธนาคารผู้ออกจดหมายรับรองเครดิต (Issuing Bank) ซึ่งผู้นำเข้าจะต้องดำเนินการโดยส่งเอกสารไปยังผู้ซื้อ ซึ่งต้องมีการประสานงานและติดขอขึ้นเงิน หรือทำธุรกรรมทางการเงินอื่นๆ ก่อนที่ผู้ส่งออกจะส่งสินค้าออกผ่านผู้รับส่งในทุกวิธีการขนส่งรวมถึงทางบก ทางเรือ ทางอากาศ และการขนส่งหลายรูปแบบ ซึ่งการนำเข้าและส่งออกจะเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขทางการค้า (INCOTERMS) เพื่อกำหนดราคาสินค้า เงื่อนไขประกันภัย ตำแหน่งที่ส่งมอบสินค้า และพิธีการศุลกากร เงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS (International Commercial Term) เป็นข้อกำหนดการมอบสินค้า (Term of Shipment) ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายที่เป็นสากล ซึ่งกำหนดขึ้นโดยสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commercial) INCOTERMS 1990 เป็นฉบับที่ประกาศใช้ในปี ค.ศ.2000 เพื่อให้คู่ค้าแต่ละฝ

TRANSPORTATION การขนส่ง

รูปภาพ

Warehouse Management

รูปภาพ
Warehouse Management การจัดการคลังสินค้า             องค์กรที่ดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์มีความจำเป็นที่ต้องมีคลังสินค้า เพราะธุรกิจเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการตลาดตามสภาพเศรษฐกิจที่ดีขึ้นหรือเลวลง หรือในขณะที่ตลาดมีความต้องการทางสินค้าสูง เกิดคู่แข่งขึ้นที่สามารถสร้างความต้องการของผู้บริโภคเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสินค้าที่เคยเป็นผู้นำตลาดลดลงอย่างรวดเร็ว หรือกรณีที่เกิดภัยทางธรรมชาติกระทบกระเทือนต่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้บริโภค ในกรณีที่ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าสูงขึ้นเกินกำลังการผลิต ผู้ผลิตสามารถนำสินค้าที่เก็บไว้ในคลังสินค้ามาบริการลูกค้าเพื่อไม่ให้สินค้าขาดตลาดได้ และสาเหตุต่างๆเหล่านี้จึงเกิดคลังสินค้าที่ต้องจัดให้เหมาะสมกับธุรกิจที่มีอยู่               คลังสินค้า ( Warehouse ) มีรูปแบบการบริการอยู่สองกลุ่ม คือกลุ่มคลังสินค้าทั่วไปมีหน้าที่ในการจัดเก็บสินค้า ( Warehousing ) และรูปแบบที่เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า ( Distribution Center : DC ) หน้าที่ของระบบคลังสินค้า       1.       หน้าที่เก็บรักษาสินค้า ( Holding )       2.       ที่รวบรวม

Forecasting การพยากรณ์

รูปภาพ
Forecasting   การพยากรณ์ การพยากรณ์คือการทำนายเหตุการณ์ในอนาคตเพื่อการวางแผนธุรกิจ ผู้บริหารต้องการข้อมูลที่ถูกต้องในการพยากรณ์ เพื่อความสำเร็จ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของการค้าไร้พรมแดน และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ล้วนเป็นจุดที่ก่อให้เกิดความต้องการการพยากรณ์ที่แม้นยำ การพยากรณ์ที่ดีช่วยประมาณความต้องการของทรัพยากรที่ใช้อย่างถูกต้อง เช่นสามารถนำมาใช้ในการลดระดับสินค้าคงคลัง หรือการจัดระดับการจำหน่ายในช่วงเวลาต่างๆในแต่ละวันไม่เท่ากัน          ช่วงเวลาในการพยากรณ์จะประกอบไปด้วย 1.       ระยะสั้น ระยะเวลา 0-3 เดือน ไม่เกิน 3เดือน      2.       ระยะกลาง  ระยะเวลาจาก 3เดือน-2ปี      3.        ระยะยาว ระยะเวลาจาก 2ปีขึ้นไป การพยากรณ์มี 2 แบบ       1.       การพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Method) ได้มาจากตัวแบบคณิตศาสตร์ใช้ตัวเลขสถิติมาเป็นฐานในการคำนวณ       2.       การพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative Method)   ใช้ในการตัดสินใจกลุ่มของผู้ทำงานหรือประสบการณ์ของผู้บริหาร  การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา    การพยากรณ์แบบอนุกรมเวล

กิจกรรมด้านโลจิสติกส์

รูปภาพ